กิจกรรม 24-28 ม.ค. 2554










ปัญหาขยะพลาสติกเป็นเป็นหาที่นับวันก็ยิ่งเพิ่มจำนวนมากขึ้นทุกๆปี แม้จะมีการตื่นตัว และรณรงค์ให้นำเอาพลาสติกกลับมาใช้ใหม่ แต่เมื่อนำมาใช้ซ้ำหลายครั้งเข้า คุณภาพก็ย่อมเสื่อมลง ความสวยงามลดลง อีกทั้งยังต้องคำนึงถึงความสะอาดและความปลอดภัยด้วย และเมื่อเทียบการนำเอาขยะพลาสติกกลับมาใช้ใหม่ กับขยะพลาสติกที่ถูกทิ้งทั้งหมด ในแต่ละวันก็ยังถือว่าเป็นแค่เพียงส่วนน้อยเท่านั้น ส่วนการกำจัดพลาสติกที่สะดวกอย่าง การฝังกลบ การเผาทำลาย ก็มีผลเสียกับสภาพแวดล้อม เป็นมลภาวะ และเป็นอันตรายอย่างมาก





ตัวทำปฏิกิริยาแต่ละชนิดมีสมบัติในการเกิดปฏิกิริยาได้เร็วช้าต่างกัน เช่น ธาตุเฮโลเจนมีความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยามาก ขณะที่ธาตุไนโตรเจนจะเฉื่อยชาไม่ค่อยเกิดปฏิกิริยา ดังนั้น ปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ จะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาแตกต่างกัน บางปฏิกิริยาเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น การระเบิดของดินปืน ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสจะได้เกลือกับน้ำทันที

NaOH + HCl NaCl + H2O

ปฏิกิริยาบางปฏิกิริยาก็เกิดอย่างช้า ๆ จนไม่สามารถเห็นการเปลี่ยนแปลงในช่วงที่พิจารณา ต้องใช้เวลาเป็นวัน เป็นเดือน หรือเป็นปี จึงจะเห็นการเปลี่ยนแปลงนั้น เช่น การบูดเน่าของอาหาร การเน่าเปื่อยของพืชผักต่าง ๆ การเกิดสนิมของโลหะต่าง ๆ เป็นต้น

สำหรับสารที่มีอันยรูปต่างกันก็มีความว่องไวต่อการเกิดปฏิกิริยาไม่เท่ากัน เช่น ฟอสฟอรัสขาว ฟอสฟอรัสแดง และฟอสฟอรัสดำ พบว่า ฟอสฟอรัสขาวสามารถลุกติดไฟในอากาศได้ทันทีที่มีอุณหภูมิห้อง ในขณะที่ฟอสฟอรัสแดงและฟอสฟอรัสดำไม่เกิดปฏิกิริยา ดังสมการ

P4(s) + 5O2(g) P4O10(s)

ทั้งนี้เพราะโครงสร้างของฟอสฟอรัสขาวมีลักษณะเป็นโมเลกุลเดี่ยว ประกอบด้วยฟอสฟอรัส 4 อะตอม ส่วนฟอสฟอรัสแดงและฟอสฟอรัสดำมีโครงสร้างเป็นพอลิเมอร์ต่อกันเป้นแนวยาวและแบบลูกฟูก







ปฏิกิริยาเคมี หมายถึง การที่สารตั้งต้นเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์(สารใหม่) เมื่อเวลาผ่านไปปริมาณของสารตั้งต้นจะลดลงขณะที่ปริมาณสารใหม่จะเพิ่มขึ้นจนในที่สุด

ก. ปริมาณสารตั้งต้นหมดไป หรือเหลือสารใดสารหนึ่งและมีสารใหม่เกิดขึ้น เรียกว่า ปฏิกิริยาเกิดสมบูรณ์ (ไม่เกิดสมดุลเคมี) เช่น A + B C

จากปฏิกิริยาบอกได้ว่า A และ B หมดทั้งคู่หรือเหลือตัวใดตัวหนึ่ง ขณะเดียวกันจะมีสารC เกิดขึ้น

ข. ปริมาณสารตั้งต้นยังเหลืออยู่(ทุกตัว) เกิดสารใหม่ขึ้นมา เรียกว่าปฏิกิริยาเกิดไม่สมบูรณ์(เกิดสมดุลเคมี) ซึ่งจะพบว่า ความเข้มข้นของสารในระบบจะคงที่ (สารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์) อาจจะเท่ากัน มากกว่า หรือน้อยกว่าก็ได้ เช่น สมดุลของปฏิกิริยา A + B C

จากปฏิกิริยาบอกได้ว่าทั้งสาร A และ B เหลืออยู่ทั้งคู่ ขณะเดียวกันสาร C ก็เกิดขึ้น จนกระทั่งสมบัติของระบบคงที่

ชนิดของปฏิกิริยาเคมี







ปฏิกิริยาเคมี หมายถึง การที่สารตั้งต้นเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์(สารใหม่) เมื่อเวลาผ่านไปปริมาณของสารตั้งต้นจะลดลงขณะที่ปริมาณสารใหม่จะเพิ่มขึ้นจนในที่สุด

ก. ปริมาณสารตั้งต้นหมดไป หรือเหลือสารใดสารหนึ่งและมีสารใหม่เกิดขึ้น เรียกว่า ปฏิกิริยาเกิดสมบูรณ์ (ไม่เกิดสมดุลเคมี) เช่น A + B C

จากปฏิกิริยาบอกได้ว่า A และ B หมดทั้งคู่หรือเหลือตัวใดตัวหนึ่ง ขณะเดียวกันจะมีสารC เกิดขึ้น

ข. ปริมาณสารตั้งต้นยังเหลืออยู่(ทุกตัว) เกิดสารใหม่ขึ้นมา เรียกว่าปฏิกิริยาเกิดไม่สมบูรณ์(เกิดสมดุลเคมี) ซึ่งจะพบว่า ความเข้มข้นของสารในระบบจะคงที่ (สารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์) อาจจะเท่ากัน มากกว่า หรือน้อยกว่าก็ได้ เช่น สมดุลของปฏิกิริยา A + B C

จากปฏิกิริยาบอกได้ว่าทั้งสาร A และ B เหลืออยู่ทั้งคู่ ขณะเดียวกันสาร C ก็เกิดขึ้น จนกระทั่งสมบัติของระบบคงที่

ชนิดของปฏิกิริยาเคมี








เลขอะตอม (Atomic number) หมายถึง ตัวเลขที่แสดงถึงผลรวมจำนวนโปรตอนในอะตอมของธาตุ ซึ่งมีค่าเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน บางครั้งใช้สัญลักษณ์ Z

เลขมวล (Mass number) หมายถึงตัวเลขที่แสดงถึงผลรวมของจำนวนโปรตอนกับนิวตรอน บางครั้งใช้สัญลักษณ์ A



A = Z + n (จำนวนนิวตรอน)











เลขอะตอม (Atomic number) หมายถึง ตัวเลขที่แสดงถึงผลรวมจำนวนโปรตอนในอะตอมของธาตุ ซึ่งมีค่าเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน บางครั้งใช้สัญลักษณ์ Z

เลขมวล (Mass number) หมายถึงตัวเลขที่แสดงถึงผลรวมของจำนวนโปรตอนกับนิวตรอน บางครั้งใช้สัญลักษณ์ A



A = Z + n (จำนวนนิวตรอน)



เลขอะตอม (Atomic number) หมายถึง ตัวเลขที่แสดงถึงผลรวมจำนวนโปรตอนในอะตอมของธาตุ ซึ่งมีค่าเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน บางครั้งใช้สัญลักษณ์ Z

เลขมวล (Mass number) หมายถึงตัวเลขที่แสดงถึงผลรวมของจำนวนโปรตอนกับนิวตรอน บางครั้งใช้สัญลักษณ์ A



A = Z + n (จำนวนนิวตรอน)







เลขอะตอม (Atomic number) หมายถึง ตัวเลขที่แสดงถึงผลรวมจำนวนโปรตอนในอะตอมของธาตุ ซึ่งมีค่าเท่ากับจำนวนอิเล็กตรอน บางครั้งใช้สัญลักษณ์ Z

เลขมวล (Mass number) หมายถึงตัวเลขที่แสดงถึงผลรวมของจำนวนโปรตอนกับนิวตรอน บางครั้งใช้สัญลักษณ์ A



A = Z + n (จำนวนนิวตรอน)











ธาตุกัมมันตรังสี (อังกฤษ: radioactive element) คือธาตุพลังงานสูงกลุ่มหนึ่งที่สามารถแผ่รังสี แล้วกลายเป็นอะตอมของธาตุใหม่ได้ มีประวัติการค้นพบดังนี้



รังสีเอกซ์ ถูกค้นพบโดย Conrad Röntgen อย่างบังเอิญเมื่อปี ค.ศ. 1895

ยูเรเนียม ค้นพบโดย Becquerel เมื่อปี ค.ศ. 1896 โดยเมื่อเก็บยูเรเนียมไว้กับฟิล์มถ่ายรูป ในที่มิดชิด ฟิล์มจะมีลักษณะ เหมือนถูกแสง จึงสรุปได้ว่าน่าจะมีการแผ่รังสีออกมาจากธาตุยูเรเนียม เขาจึงตั้งชื่อว่า Becquerel Radiation

พอโลเนียม ถูกค้นพบและตั้งชื่อโดย มารี กูรี ตามชื่อบ้านเกิด (โปแลนด์) เมื่อปี ค.ศ. 1898 หลังจากการสกัดเอายูเรเนียมออกจาก Pitchblende หมดแล้ว แต่ยังมีการแผ่รังสีอยู่ สรุปได้ว่ามีธาตุอื่นที่แผ่รังสีได้อีกแฝงอยู่ใน Pitchblende นอกจากนี้ กูรียังได้ตั้งชื่อเรียกธาตุที่แผ่รังสีได้ว่า ธาตุกัมมันตรังสี และเรียกรังสีนี้ว่า กัมมันตภาพรังสี

เรเดียม ถูกตั้งชื่อไว้เมื่อปี ค.ศ. 1898 หลังจากสกัดเอาพอโลเนียมออกจากพิตช์เบลนด์หมดแล้ว พบว่ายังคงมีการแผ่รังสี จึงสรุปว่ามีธาตุอื่นที่แผ่รังสีได้อีกใน Pitchblende ในที่สุดกูรีก็สามารถสกัดเรเดียมออกมาได้จริง ๆ จำนวน 0.1 กรัม ในปี ค.ศ. 1902

ด้วยเหตุนี้นี่เอง ทำให้ผู้ค้นพบได้รับรางวัลต่าง ๆ ดังนี้